วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 8 (วันที่ 19 – 24 ธันวาคม 2554)

งานที่ปฏิบัติ
  1. พิมพ์รายตัดหนี้สูญบุคคลทั่วไป OPD ปี 2552 ลงใน Excel จำนวน 219 ราย
  2. พิมพ์รายตัดหนี้สูญบุคคลทั่วไป OPD ปี 2553 ลงใน Excel จำนวน 269 ราย
  3. ตรวจสอบข้อมูลตัดหนี้สูญปี 2552 ทั้งหมดเพื่อความถูกต้อง
  4. แก้ไขข้อมูลในจดหมายทวงหนี้ปี 2552 และ 2553 ที่ผิดพลาดให้ถูกต้อง และปริ้นออกมาจำนวน 7 แผ่น
  5. นำจดหมายทวงหนี้ที่แก้ไขแล้วไปถ่ายเอกสารจำนวน 7 แผ่น
  6. เขียนบันทึกการทวงถามและการรับชำระปี 2552 จำนวน 1 แผ่น
  7. ส่งเอกสารให้พี่ที่การเงินชั้น 10
  8. พิมพ์จดหมายทวงหนี้บุคคลทั่วไปปี 2552 จำนวน 14 ฉบับ
  9. สแกนตารางการทำงานให้พี่สนับสนุนการเงิน 14 แผ่น
  10. สแกน TMB Cash Management Services ให้พี่สนับสนุนการเงิน 7 แผ่น
  11. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ปี 2552 เพิ่มเติม 2 ฉบับ
  12. ปริ้นรายตัดหนี้สูญบุคคลทั่วไป OPD ปี 2552 ให้หัวหน้าตรวจจำนวน 15 แผ่น
  13. เรียงเอกสารใบแจ้งหนี้บุคคลทั่วไป OPD ปี 2553 จำนวน 3 แฟ้ม
สภาพปัญหาและอุปสรรค
  1. ทำงานกับตัวเลขไปนาน ๆ รู้สึกเวียนหัว เพราะอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
  2. เอกสารการแจ้งหนี้บางรายไม่ระบุสาเหตุของการไม่จ่ายเงิน
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. เดินไปเข้าห้องน้ำเพื่อเป็นการปรับเปลี่ยอิริยาบถ ช่วยให้ผ่อนคลายลดความตรึงเครียด
  2. ถามพี่ที่ทำงานว่าควรจะระบุสาเหตุของการไม่จ่ายเงินว่าอย่างไร

วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 7 (วันที่ 13 – 17 ธันวาคม 2554)

งานที่ปฏิบัติ
  1. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ปี 51 จำนวน 68 ฉบับ
  2. ปริ้นจดหมายทวงหนี้ปี 48 จำนวน 3 ฉบับ
  3. ปริ้นจดหมายทวงหนี้ปี 49 จำนวน 21 ฉบับ
  4. ปริ้นจดหมายทวงหนี้ปี 51 จำนวน 131 ฉบับ
  5. แก้ข้อมูลในเอกสารทวงหนี้ จำนวน 57 แผ่น
  6. ปริ้นเอกสารที่แก้ จำนวน 27 แผ่น
  7. ถ่ายเอกสารบันทึกการทวงถามและการรับชำระ จำนวน 192 แผ่น
  8. เขียนบันทึกการทวงถามและการรับชำระปี 48 จำนวน 24 แผ่น
  9. เขียนบันทึกการทวงถามและการรับชำระปี 49 จำนวน 21 แผ่น
  10. เขียนบันทึกการทวงถามและการรับชำระปี 51 จำนวน 126 แผ่น
  11. รับโทรศัพท์ในช่วงที่พี่ไม่อยู่ 4 สาย
  12. สแกนบัตรประชาชนให้พี่ 1 แผ่น
  13. พิมพ์ป้ายประกาศ 1 แผ่น
  14. พิมพ์รายการตัดหนี้สูญ OPD บริษัทประกัน ปี 2552  ลงใน Excel จำนวน 112 ราย
สภาพปัญหาและอุปสรรค
  • พบตัวเลขผิดพลาดในจดหมายไม่ตรงกับยอดจริง
วิธีการแก้ไขปัญหา
  • แก้ตัวเลขยอดเงินในจดหมายให้ตรงกับยอดจริง

วันจันทร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 6 (วันที่ 6 – 10 ธันวาคม 2554)

งานที่ปฏิบัติ
  1. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ปี 48 จำนวน 48 ฉบับ
  2. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ปี 49 จำนวน 61 ฉบับ
  3. ปริ้นจดหมายทวงหนี้ปี 49 จำนวน 70 ฉบับ
  4. ปริ้นจดหมายทวงหนี้ปี 52 จำนวน 115 ฉบับ
  5. ปริ้นจดหมายทวงหนี้ปี 53 จำนวน 125 ฉบับ
  6. ถ่ายเอกสารบันทึกการทวงถามและการับชำระ จำนวน 245 แผ่น
  7. เขียนบันทึกการทวงถามและการับชำระปี 49 จำนวน 70 แผ่น
  8. เขียนบันทึกการทวงถามและการับชำระปี 52 จำนวน 63 แผ่น
  9. เขียนบันทึกการทวงถามและการับชำระปี 53 จำนวน 60 แผ่น
  10. แก้ไขเอกสาร จำนวน 6 ฉบับ
สภาพปัญหาและอุปสรรค
  • พบคำผิดในเอกสาร จำนวน 6 ฉบับ
วิธีการแก้ไขปัญหา
  • แก้จุดที่ผิดให้ถูกต้องและทำการปริ้นเอกสารใหม่

วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 5 (วันที่ 28 พฤศจิกายน - 2 ธันวาคม 2554)

งานที่ปฏิบัติ
  1. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ปี 51 จำนวน 82 ฉบับ
  2. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ปี 50 จำนวน 149 ฉบับ
  3. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ปี 49 จำนวน 33 ฉบับ
  4. คีย์ข้อมูลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เคลมประกันกับ AIA ลงในระบบจำนวน 600 คน
สภาพปัญหาและอุปสรรค
  • เอกสารประกันเก็บไว้หลายปี กระดาษเสื่อมไปตามสภาพ ขาดบ้าง หมึกจางบ้าง
วิธีการแก้ไขปัญหา
  • เปิดเอกสารด้วยความระมัดระวัง ตรงไหนไม่ชัดก็ถามจากพี่ที่ทำงาน

วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 4 (วันที่ 21 – 26 พฤศจิกายน 2554)

งานที่ปฏิบัติ
  1. ค้นหาเบอร์โทรศัพท์ของบริษัทต่าง ๆ ในระบบ SSB A/R Setup&Reports เพื่อขอเรียกวางบิลค่ารักษาพยาบาล จำนวน 93 ฉบับ
  2. โทรศัพท์ติดต่อกับบริษัทลูกหนี้เพื่อสอบถามเช็คที่ค้างชำระ 2 บริษัท
  3. คีย์ข้อมูลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เคลมประกันกับ AIA ลงในระบบ จำนวน 136 คน
  4. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ของปี 52 จำนวน 172 ฉบับ
  5. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ของปี 53 จำนวน 127 ฉบับ
  6. พิมพ์จดหมายทวงหนี้ของปี 54 จำนวน 85 ฉบับ
  7. ตรวจทานจดหมายทวงหนี้ปี 52-54 ที่พิมพ์ไปทั้งหมดอีกครั้ง
  8. รับโทรศัพท์แทนพี่ในช่วงที่พี่ไม่ว่างหรือไม่อยู่ จำนวน 3 สาย
สภาพปัญหาและอุปสรรค
  1. ระบบปฏิบัติการรุ่นเก่าไม่คุ้นเคยจึงทำให้ทำงานล่าช้า
  2. ไม่มีประสบการณ์ในการพูดโทรศัพท์กับลูกหนี้และการทำงานเกี่ยวกับการวางบิลเมื่อเจอคำถามจึงไม่สามารถตอบคำถามเองได้
  3. เอกสารมีจำนวนมาก และต้องวิเคราะห์สาเหตุที่ประกันไม่รับเคลม เมื่อทำไปนาน ๆ ทำให้ตาลาย
  4. เอกสารการเคลมประกันบางคนมีใบเสร็จมากกว่า 1 ใบเสร็จ และใบปะหน้าไม่มียอดสรุปค่าใช้จ่ายให้
  5. จดหมายที่บริษัทประกันตีกลับบางฉบับไม่ลงวันที่
  6. ยอดทรี่แจ้งจากบริษัทกับใบอินวอยไม่ตรงกัน
  7. บางบริษัทแจ้งเหตุผลการตีกลับไม่รับเคลมมาไม่ชัดเจน
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ศึกษาระบบและทำงานอย่างรอบคอบ ตรวจทานอยู่เสมอ
  2. ถามพี่ที่ทำงานก่อนจึงสามารถตอบคำถามของลูกหนี้ และเรียนรู้งานจากพี่ ๆ ในการพูดโทรศัพท์
  3. ทำงานด้วยความรอบคอบ ค่อย ๆ ดูทีละตัวอักษรเพราะจดหมายจะต้องมีความถูกต้องสูง
  4. นั่งบวกตัวเลขด้วยความรอบคอบ และบวกตรวจทานซ้ำอย่างน้อย 2 รอบ
  5. กรณีบริษัทประกันไม่ลงวันที่ต้องบวกจากวันที่เข้ารับการรักษาอีก 2 เดือน
  6. ยึดยอดที่แจ้งจากบริษัทประกันเป็นหลัก เพราะใบอินวอยอาจจะหาย
  7. ถามพี่ว่าจะต้องบอกเหตุผลว่าอะไร

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 3 (วันที่ 14 – 18 พฤศจิกายน 2554)

หมายเหตุ หยุดพักการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 สัปดาห์ (ตั้งแต่วันที่ 7-18 พฤศจิกายน) เนื่องจากที่บ้านและที่ฝึกงานน้ำท่วม

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 2 (วันที่ 7 – 11 พฤศจิกายน 2554)

หมายเหตุ หยุดพักการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 สัปดาห์ (ตั้งแต่วันที่ 7-18 พฤศจิกายน) เนื่องจากที่บ้านและที่ฝึกงานน้ำท่วม

วันเสาร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สัปดาห์ที่ 1 (วันที่ 1 – 4 พฤศจิกายน 2554)

งานที่ปฏิบัติ
  1. ประทับตรายางชื่อผู้จัดการแผนกนิติการและติดตามหนี้ในใบเสร็จรับเงินจำนวน 20 ใบ
  2. คีย์ข้อมูลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เคลมประกันกับ AIA ลงในระบบจำนวน 471 คน
  3. ฝึกถ่ายเอกสารจำนวน 2 แผ่น
  4. ฝึกส่งแฟกซ์จำนวน 1 แผ่น
สภาพปัญหาและอุปสรรค
  1. ไม่สามารถวิเคราะห์ประเภทอุบัติเหตุว่าในแต่ละเคทจะจัดเข้าเป็นอุบัติเหตุประเภทใด
  2. เอกสารมีจำนวนมากการคีย์ข้อมูลลงในระบบไม่เป็นปัจจุบัน
  3. นั่งอยู่หน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานทำให้เกิดความเมื่อยล้า
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ปรึกษาและขอคำแนะนำจากพี่ที่ทำงานว่าอุบัติเหตุแบบนี้ควรจัดอยู่ในประเภทใด
  2. ระบบสามารถเปิดพร้อมกันได้จึงใช้คนคีย์ข้อมูลหลาย ๆ คนเข้ามาช่วยคีย์ข้อมูล
  3. พักออกไปเข้าห้องน้ำเพื่อได้ปรับอิริยาบทและหาที่มองออกไปข้างนอกไกล ๆ เพื่อพักผ่อนสายตา

วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว


สถานที่ฝึกงาน

-----------------------------------------------------------------
เส้นทางขนส่งสาธารณะจากหอพักไปยัง โรงพยาบาลพญาไท 3

จุด  A ที่พัก
จุด  B โรงพยาบาลพญาไท 3
ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 30 นาที

วันจันทร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

โครงการเสริมทักษะวิชาชีพทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจจากผู้เชี่ยวชาญ

วันที่ 10 ก.พ. 54
บรรยายโดย : คุณสุดภักดี  รัตนพัฒน์

Cyber Crime
         Malware Attacks: โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาให้มันไปเก็บข้อมูล
            Virus: code ที่สามารถ copy ตัวเองได้ และแพร่ไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ได้โดยอาศัยพาหะ
            Warm: Standalone Malware Program ที่สามารถแพร่กระจายตัวเองได้ผ่านทางระบบเครือข่าย
            Trojan horse: โปรแกรมที่ถูกบรรจุเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เพื่อเก็บข้อมูลเป็นหลัก เช่น รหัสผ่านโดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้คุกคามระบบคอมพิวเตอร์ภายหลัง ปกติจะไม่เป็นอันตรายใด ๆ กับระบบคอมพิวเตอร์จึงไม่ถือว่าเป็นไวรัส
            Bot / Zombie: คอมพิวเตอร์ที่ติด warm หรือ Trojan แล้ว และถูกควบคุมให้ทำงานผ่านทาง network
            Dos: เป็นการโจมตีที่มีจุดประสงค์ให้ cp เหยื่อไม่สามารถให้บริการได้โดยการ floods ข้อมูล

ป้องกัน
          ติดตั้ง Anti-virus / Anti-spyware และ Update อย่างสม่ำเสมอ
            Update OS Patch / Service Pack อย่าสม่ำเสมอ เช่น Window Update
            Patch Software ที่ใช้งานทั้งหมด เช่น Adobe Flash Player Plug-ins
            ระมัดระวังในการ Download Software ไม่เปิด E-mail จากคนที่ไม่รู้จัก

ของแถมสำหรับนัก Download
          Spyware: เป็นโปรแกรมที่บันทึกการทำงานของ User และส่งผ่าน Internet ไปยังผู้สร้าง
            Keylogger: เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับติดตามและบันทึกทุกการกดคีย์บอร์ดบนเครื่องคอมพิวเตอร์

การระวังตัว
            Download จาก Website ที่เชื่อใจได้
            สิ่งที่ Download ผิดกฎหมายหรือไม่
            ลองคิดอีกทีว่าจะเสี่ยง Download ข้อมูลนั้นหรือไม่
            อ่าน License / Agreement

           Phishing: ใช้เทคนิค Social Engineer เพื่อหลอกลวงทางอินเทอร์เน็ต เพื่อขอข้อมูลที่สำคัญ เช่น รหัสผ่านหรือหมายเลขบัตรเครดิต
            Social Network-Phishing: ปัจจุบันเป็นเป้าหมายหลักของการทำ Phishing โดยการสร้างหน้า Login ให้คล้ายกับหน้าของเว็บนั้น ๆ เพื่อขโมย Login

ข้อแนะนำในการใช้ Social Network
-          อย่าใส่ข้อมูลส่วนตัวที่สามารถระบุตัวตนของคุณ
-          อย่าอนุญาตให้ virtual friend ส่ง e-mail โดยตรงถึงคุณ
            -     ห้ามให้คนอื่นเข้ามาดู Profile

พรบ. คอมพิวเตอร์ 50
          โพสข้อความเท็จ
-          ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนเสียหาย
-          ที่ส่งผลกระทบกับความมั่นคงของประเทศ
โทษสูงสุดจำคุก 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
            Hack ข้อมูล
โทษสูงสุดจำคุก 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท
            ผู้ให้บริการ Internet
                        ต้องมีการเก็บ Log อย่างน้อย 90 วัน
            การ Block Website
                   กระทำได้โดยคำสั่งศาล
            การส่ง Spam mail
                      ปรับ 100,000 บาท

Cyber Crime
          As an ICT Manager
          Policies: จัดทำ policy ขององค์กรรวมทั้ง guideline และข้อกำหนดต่าง ๆ ในการใช้งาน ICT
            Risk Analysis: พิจารณาความเสี่ยงของระบบ / อุปกรณ์ ICT
            Cryptography: เข้ารหัสข้อมูลที่สำคัญ
            Audit: ต้องมีการ audit ทุกอย่างอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
 

วันอังคารที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2554

DHCP

DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol)
DHCP คือ โปรโตคอลที่ใช้ในการกำหนด IP Address อัตโนมัติแก่เครื่องลูกข่ายบนระบบ ที่ติดตั้ง TCP/IP สำหรับ DHCP server มีหน้าที่แจก IP ในเครือข่ายไม่ให้ซ้ำ เป็นการลดความซ้ำซ้อน เมื่อเครื่องลูกเริ่ม boot ก็จะขอ IP address, Subnet mark, หมายเลข DNS และ Default gateway
ขั้นตอนการเชื่อมต่อของเครื่องลูกกับ DHCP server
1. เครื่องลูกค้นหาเครื่อง DHCP server ในเครือข่าย โดยส่ง DHCP discover เพื่อร้องขอ IP address
2. DHCP server จะค้นหา IP ที่ว่างอยู่ในฐานข้อมูล แล้วส่ง DHCP offer กลังไปให้เครื่องลูก
3. เมื่อเครื่องลูกได้รับ IP ก็จะส่งสัญญาณตอบกลับ DHCP Request ให้เครื่องแม่ทราบ
4. DHCP server ส่งสัญญาณ DHCP Ack กลับไปให้เครื่องลูก เพื่อแจ้งว่าเริ่มใช้งานได้

คอมโพสดอทเน็ท.(2009.). DHCP . สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม, 2550, จากhttp://www.compspot.net/
index.php?option=com_content&task=view&id=69&Itemid=46

วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2554

วิชาฐานข้อมูลเบื้องต้น การบ้านการทำNormalization ประจำวันที่ 5 ม.ค. 54

1. Functional Dependency คืออะไร แบ่งเป็นกี่ประเภท
          ตอบ Functional dependency (FD) คือความสัมพันธ์ระหว่าง attribute ใน Relation โดยมีลักษณะความสัมพันธ์ คือ ข้อมูลของ attribute หนึ่ง (หรือกลุ่มหนึ่ง) ขึ้นอยู่กับค่าของ attribute หนึ่ง (หรือกลุ่มหนึ่ง) อย่างเป็นฟังก์ชัน
            Functional Dependency แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
            1. Functional Dependency ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง Determinant และ Dependency อย่างละ 1 คำ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างหมายเลขบัตรประชาชนและชื่อเจ้าของบัตร
            2. Functional Dependency ที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่าง Determinant 1 คำกับ Dependency หลายคำ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างบนบัตรประชาชน และข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนบัตรประชาชน
            3. Functional Dependency ที่มีความสัมพันธ์ 2 ทาง ซึ่งเป็น Functional Dependency ที่ทั้ง Determinant และ Dependency ต่างสามารถทำหน้าที่ของอีกฝ่ายหนึ่งได้
            4. Functional Dependency ที่ต้องใช้ Determinant มากกว่า 1 คำ เพื่ออ้างถึง Dependency เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนสินค้าที่ผลิตได้ของสินค้าแต่ละชนิดภายใต้สายการผลิตต่าง ๆ


2. จงอธิบายความหมายของ Repeating Group พร้อมยกตัวอย่าง
         ตอบ Repeating Group คือ ในฟิลด์ใด ๆ ของ Table นั้น จะมีค่าฟิลด์นั้นเกิน 1 ค่า ภายในเรคอร์ดเดียวกัน
            ตารางที่มีลักษณะข้อมูลเป็น Repeating group
รหัสนักศึกษา
ชื่อ
นามสกุล
รหัสวิชาที่ลงทะเบียน
001
สมชาย
สมใจนึก
204-101
204-204
204-205
002
ธีรชาย
บุญมาศ
204-102
204-204


3. จงอธิบายความหมายของ Transitive Dependency พร้อมยกตัวอย่าง
          ตอบ การไม่ขึ้นตรงกับคีย์หลัก (Transitively Dependency) ถ้าในความสัมพันธ์ R มีคีย์หลักคือ K และแอตตริบิว A และ B จะกล่าวว่าแอตตริบิว B ไม่ขึ้นตรงกับคีย์หลัก
เมื่อ K -----------> A และ A ----------> B และ A ---/--> K
ตัวอย่างการทำ ตารางให้เป็น 3NF
ผู้บริหาร (เลขประจำ ตัว, ชื่อนามสกุล, ที่อยู่, ตำแหน่ง, ยี่ห้อรถประจำ ตำแหน่ง)
FD = {เลขประจำตัว--> ชื่อนามสกุล, ที่อยู่, ตำแหน่ง
ตำแหน่ง --> ยี่ห้อรถประจำ ตำแหน่ง }
ในตัวอย่างจะเห็นได้ว่า set ของ ผู้บริหาร (เลขประจำตัว , ชื่อนามสกุล , ที่อยู่, ตำแหน่ง, ยี่ห้อ รถประจำตำแหน่ง) นี้ ยังไม่ใช่ 3NF เพราะ เลขประจำตัว --> ตำแหน่ง ตำแหน่ง --> ยี่ห้อรถประจำตำแหน่ง ดังนั้น ควรจะแยก เซ็ทผู้บริหาร ออกเป็น 2 เซ็ท คือ
3NF: ผู้บริหาร (เลขประจำตัว, ชื่อนามสกุล, ที่อยู่, ตำแหน่ง)
        ตำแหน่งบริหาร (ตำแหน่ง, ยี่ห้อรถประจำ ตำแหน่ง)

4. จงตรวจสอบตารางต่อไปว่าอยู่ในรูปของ 1NF 2NF และ 3NF แล้วหรือยัง ถ้ายังจง Normalization ให้อยู่ในรูปดังกล่าว
P_ID
P_Name
E_ID
E_Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
11
EAU Web Site
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
101
แท่น งามยิ่ง
Database Designer
450
19.4
105
ชาย ดีศรี
Database Designer
450
35.7
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
22
BU Registration
114
สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
300
24.6
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.3
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20.0
112
ธิดา ไม้งาม
Database Designer
450
44.0
105
ชาย ดีศรี
Database Designer
450
44.0

ตอบ ยังไม่อยู่ในรูปของ 1NF 2NF และ 3NF
1NF
P_ID
P_Name
E_ID
E_Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
11
EAU Web Site
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
11
EAU Web Site
101
แท่น งามยิ่ง
Database Designer
450
19.4
11
EAU Web Site
105
ชาย ดีศรี
Database Designer
450
35.7
11
EAU Web Site
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
11
EAU Web Site
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
22
BU Registration
114
สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
300
24.6
22
BU Registration
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.3
22
BU Registration
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
22
BU Registration
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20.0
22
BU Registration
112
ธิดา ไม้งาม
Database Designer
450
44.0
22
BU Registration
105
ชาย ดีศรี
Database Designer
450
44.0

2NF
FD: P_ID, E_ID --> P_Name, E_Name, Job_Calss, Chg_Hour, Hour
D1: P_ID, E_ID --> Chg_Hour, Hour
D2: P_ID --> P_Name, E_Name, Job_Calss

3NF
FD: P_ID --> P_Name, E_Name, Job_Calss
D1: P_ID --> P_Name, E_Name
D2: E_Name --> Job_Calss

5. จงวิเคราะห์และจัดทำ Normalization ระบบการลงทะเบียนของนักศึกษา ให้มีความซ้ำซ้อนน้อยที่สุด
รหัส นศ.
ภาคเรียนที่
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
ประเภทวิชา
ชื่อประเภท
หน่วยกิต
เกรด
4501
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอมฯ
02
ชีพบังคับ
3
F

1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
C

2/45
A01
คณิตศาสตร์คอมฯ
02
ชีพบังคับ
3
D

2/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
D+
4502
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอมฯ
02
ชีพบังคับ
3
B

1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C

2/45
A02
ระบบฐานข้อมูล
03
ชีพเลือก
3
B

2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4503
1/45
A06
การสื่อสารข้อมูล
01
พื้นฐาน
3
A

1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
03
ชีพเลือก
3
C

2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4506
1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
D+

1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C

ตอบ 1NF
รหัส นศ.
ภาคเรียนที่
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
ประเภทวิชา
ชื่อประเภท
หน่วยกิต
เกรด
4501
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอมฯ
02
ชีพบังคับ
3
F
4501
1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
C
4501
2/45
A01
คณิตศาสตร์คอมฯ
02
ชีพบังคับ
3
D
4501
2/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
D+
4502
1/45
A01
คณิตศาสตร์คอมฯ
02
ชีพบังคับ
3
B
4502
1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C
4502
2/45
A02
ระบบฐานข้อมูล
03
ชีพเลือก
3
B
4502
2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4503
1/45
A06
การสื่อสารข้อมูล
01
พื้นฐาน
3
A
4503
1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
03
ชีพเลือก
3
C
4503
2/45
A05
โปรแกรมสำเร็จรูป1
02
ชีพบังคับ
3
D
4506
1/45
A03
ภาษาไทย
01
พื้นฐาน
3
D+
4506
1/45
A04
ภาษาอังกฤษ1
01
พื้นฐาน
3
C

2NF
           D1: รหัส นศ., รหัสวิชา --> เกรด
           D2: รหัสวิชา --> ภาคเรียนที่, ชื่อวิชา, ประเภทวิชา, ชื่อประเภท, หน่วยกิต

3NF
         D1: รหัสวิชา--> ภาคเรียนที่, ชื่อวิชา, ประเภทวิชา, หน่วยกิต, ประเภทวิชา
         D2: ประเภทวิชา--> ชื่อประเภท